ReadyPlanet.com
dot dot
dot
สมัครสมาชิกรังสิมันต์
อีเมล :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
ตลอดไป 1 ปี
1 เดือน 1 สัปดาห์
1 วัน  
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
รับข่าวสารจากรังสิมันต์

dot
dot
ค้นหาสิ่งที่ได้ ใช่สิ่งที่พบ

dot
dot
กองหนุน
dot
bulletพลตรีทนง ทรัพย์สอน
bulletอ.พเยาว์ เข็มนาค
bulletอ.พงศกร จิรา
bulletน้อท รังสิมันต์
dot
ฟังและชมรายการ
dot
bulletชมรายการสุวรรณภูมิโฟกัส
bulletฟังละครวิทยุ เรื่องจ้าวสามแผ่นดิน
bulletฟังละครวิทยุ เรื่องทวิภาคไตรภพ
bulletฟังละครวิทยุ เรื่องเจ้าสามพระยา
bullet"พระเวสสันดร มหาบุรุษแห่งหิมพานต์" โดย ผศ. รท. ดร.บรรจบ บรรณรุจิ เสียงโดย "รังสิมันต์"
bulletฟังละครวิทยุ "รังสิมันต์" เรื่อง "วิญญาณนางทาส"
dot
ชมรายการสุวรรณภูมิโฟกัสย้อนหลัง
dot
dot
ข่าวสารรังสิมันต์
dot
bulletรังสิมันต์รับประทานรางวัลพิฆเนศวร
bulletรังสิมันต์รับรางวัลกินรีทอง
bulletบรรยากาศอำลารวมใจไทยเป็นหนึ่งในห้องส่ง
bulletทริ๊ปสุดท้ายกับรายการ "รวมใจไทยเป็นหนึ่ง"
bulletสัมภาษณ์ rungsimun.com ละครวิทยุบนโลกออนไลน์
bulletเบื้องหลังเพลงมหากาพย์แห่งอโยธยา
bulletประมวลภาพงานแถลงข่าวมหากาพย์แห่งอโยธยาค่ะ
bulletประมวลภาพย้อนรอยละครครั้งที่1
bulletประมวลภาพงานเปิดตัวพระเวสสันดร
bullet*รังสิมันต์บุกคลื่นต่างจังหวัด*
bulletกระแสละครวิทยุรังสิมันต์ 2549-2550
bulletกระแสละครวิทยุรังสิมันต์2547
dot
ร่วมแสดงความคิดเห็น
dot
bulletต่อความยาวสาวความยืด
bulletพระบรมรูปครอบครัวพระนเรศวร วัดนางพญา
bulletสักการะพระพุทธชินราช พิษณุโลก
bulletชมเจดีย์หลวง วัดราชบูรณะ พิษณุโลก
bulletชมพระราชวังจันทน์ พิษณุโลก
bulletวิหารพระอาจารย์ธรรมโชติ วัดโพธิ์เก้าต้น
bulletชมวัดเขานางบวช(พระอาจารย์ธรรมโชติ)
bulletชมวัดเขารูปช้าง พิจิตร
bulletชมเมืองเก่าพิจิตร
dot
พบกันนอกเว็บ
dot
bulletแฟนเพจบ้านรังสิมันต์
bulletผลิตภัณฑ์ ST by Rungsimun
bulletRungsimun Media Official
dot
ผลิตภัณฑ์โดย "รังสิมันต์"
dot


ข้าวสามทหารเสือปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ข้าวสามสหายปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ข้าวหยินหยางปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ข้าวไรซ์เบอรี่ปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ข้าวทับทิมชุมแพปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ข้าวกล้องกข43 ปลอดสาร โดยรังสิมันต์
ดูมิวสิควีดีโอเพลงอโยธยา ต้องการดูภาพเต็มจอ ให้ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ภาพ เพื่อขยาย


โบราณสถานกรุงศรีอยุธยา

รังสิมันต์ มีเดีย


 

โบราณสถานกรุงศรีอยุธยา

 

แผนที่ทัศนียภาพกรุงศรีอยุธยา วาดสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

โดย อแลง มาเลต์ พ.ศ. 2226

 

แผนที่สยาม วาดสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

โดย โจฮานส์ เมเทลลัส พ.ศ. 2139

 

แผนที่อุษาคเนย์ วาดสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

โดย อับราฮัม ออเทเลียส พ.ศ. 2113

 


 

 

วัดพุทไธสวรรย์

อนุสาวรีย์สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(กลาง)

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช(ซ้าย) สมเด็จพระเอกาทศรถ(ขวา)

 

                                       วัดพุทไธสวรรย์ อยู่ริมแม่น้ำตรงข้ามกับพระนครด้านใต้ สร้าง

                            ขึ้นในบริเวณที่ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอู่ทองอพยพจากเมืองอู่ทอง มาตั้งอยู่ก่อน

                            ที่จะสร้างกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. 1896 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองจึงโปรดให้

                            สร้างวัดพุทไธสวรรย์ขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึก ณ ตำบล ซึ่งพระองค์เสด็จมาตั้ง

                            มั่นอยู่เดิม

                                     ในปัจจุบัน ยังมีซากเหลืออยู่อีกหลายอย่าง เช่น ปรางค์ใหญ่คดรอบ

                            ปรางค์ ซึ่งมีพระพุทธรูปศิลาตั้งเรียงรายเต็มหมด พระอุโบสถ พระวิหาร

                            พระวิหารพระนอน และพระตำหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ซึ่งสร้าง

                            แต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ก็ยังมีปรากฎอยู่ที่วัดนี้อีกด้วย ที่ผนังตำหนักสมเด็จฯ

                            มีภาพเขียนเรื่องทศชาติชาดก กับเรื่องราวที่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

                            ไปนมัสการพระพุทธบาทที่ลังกาทวีป แต่ถูกลบเลือนไปเป็นส่วนมากแล้ว

 


 

 

วัดพระศรีสรรเพชญดาญาณ

 

                                        วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดที่สำคัญ อยู่ในพระราชวังหลวง

                            เมื่อแรกสร้างกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอยู่ทองทรงสร้างปราสาทที่ตรงวัดนี้

                           ครั้นถึงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงอุทิศที่ปราสาทของเดิม

                           สร้างเป็นวัดขึ้น (แต่ไม่มีพระภิกษุสงฆ์อยู่จำพรรษา) คงใช้เป็นที่สำหรับ

                           ประกอบพระราชพิธีต่างๆ เช่น ถือน้ำพิพัฒน์สัตยา และเป็นที่เสด็จออกบำ-

                           เพ็ญพระราชกุศล ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระสถูป

                           ใหญ่ขึ้น 2 องค์ เมื่อ พ.ศ. 2035 สำหรับบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระ-

                           บรมไตรโลกนาถ คือองค์ทางทิศตะวันออก และองค์กลางบรรจุพระบรมอัฐิ

                           ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2042 ทรงสร้างพระ

                           วิหารขึ้น และใน พ.ศ.2043 ทรงหล่อพระพุทธรูปยืนสูง 8 วา หุ้มทองคำ

                           ทั้งองค์ไว้ในวัดนี้ ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

                           จึงเรียกนามวัดนี้ว่า วัดพระศรีสรรเพชญ์ ส่วนพระสถูปองค์ทางตะวันตกนั้น

                           สมเด็จพระบรมราชาหน่อพุทธางกูร โปรดฯ ให้สร้างขึ้น แล้วบรรจุพระบรม

                           อัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (ติดตามได้ในละครอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง

                           "ขุนดาบเมืองสองแคว")

                                    เมื่อคราวเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 ข้าศึกได้เอาไฟสุมพระศรีสรรเพชญ์

                         แล้วสำรอกเอาทองคำรวมทั้งทรัพย์สมบัติอันมีค่าภายในวิหารไปหมด หุ่น

                         สัมฤทธิ์พระศรีสรรเพชญ์ฯ ถูกไฟร้าวรานยับเยิน และภายหลังองค์ชำรุดแตก

                         หักหมดทั้งองค์

 


 

วัดใหญ่ชัยมงคล (วัดป่าแก้ว)

พระพุทธไชยมงคล (ภายในพระอุโบสถ)

 

ศาลสมเด็จพระนเรศวร

 

                                        วัดใหญ่ไชยมงคล อยู่นอกพระนครด้านตะวันออกเฉียงใต้

                           วัดนี้แต่เดิมพระเจ้าอยู่ทองทรงสร้างเมื่อ พ.ศ. 1900 มีชื่อว่า "วัดป่าแก้ว"

                           สำหรับเป็นสำนักของพระสงฆ์ซึ่งไปบวชเรียนมาแต่ลังกาทวีป สำนักพระ

                            วันรัตมหาเถร

                                       ในแผ่นดินขุนวรวงศาธิราช ออกญาพิษณุโลก(ขุนพิเรนทรเทพ)

                           ซึ่งต่อมา เป็นสมเด็จพระชนกนาถในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขุนอินทร-

                           เทพ (เชื้อวงศ์ศรีธรรมโศกราช) หมื่นราชเสน่หา และสมเด็จพระเทียรราชา

                           (ขณะที่ทรงผนวชอยู่) ได้มากระทำพิธีเสี่ยงเทียนกันที่พระอุโบสถวัดนี้ ก่อน

                           ที่จะกำจัดขุนวรวงศาธิราชและท้าวศรีสุดาจันทร์

                                               (ติดตามในขุนดาบเมืองสองแคว)

                                        แผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีข้าศึกยกกองทัพเข้ามาตี

                          กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2135 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกกองทัพ

                          ออกไป ต่อสู้ข้าศึกจนถึงได้กระทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี

                          สมเด็จพระนเรศวรทรงมีชัยชนะ ทรงฟันคู่ต่อสู้ของพระองค์จนสิ้นพระชนม์

                          บนคอช้าง แต่ครั้งนั้น ไม่สามารถตีกองทัพข้าศึกให้แตกยับเยินได้ เนื่องจาก

                          กองทัพต่างๆ ติดตามไปไม่ทันทัพหลวงหลายกอง ครั้นเมื่อทรงเสด็จกลับแล้ว

                          จึงทรงพิโรธแม่ทัพนายกองเหล่านั้น จะทรงให้ประหารชีวิตเสีย แต่สมเด็จ

                          พระวันรัต(วัดป่าแก้ว) พระอาจารย์ของสมเด็จพระนเรศวร ถวายพระพรขอ

                          พระราชทานโทษไว้ แล้วทูลแนะนำให้ทรงสร้างเจดีย์เอาไว้ เพื่อเฉลิมพระ

                          เกียรติที่ได้มีชัยชนะอันยิ่งใหญ่ในครั้งนั้น สมเด็จพระนเรศวรจึงโปรดให้

                          สร้างเจดีย์ใหญ่ขึ้น และทรงขนานนาม "พระเจดีย์ไชยมงคล" ชื่อวัดนี้ จึง

                          ได้เปลี่ยนเป็น "วัดใหญ่ไชยมงคล" นับแต่นั้น (ติดตามต่อไป ในเรื่อง

                          มหาราชนเรศวร วีรกษัตริย์แห่งอโยธยา ประมาณปลายเดือนมกราคม

                          ต่อจากพระยาพิชัยดาบหัก)

 


ขุนเหล็ก                                                           ขุนเหล็ก 

 วัดดุสิตาราม

วัดดุสิตาราม เป็นวัดที่เจ้าแม่วัดดุสิต หรือ พระนมบัว

พระนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

และยังเป็นมารดาของท่านเจ้าพระยาโกษาธิบดี(เหล็ก)

และเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) บวชชีและจำวัดอยู่

อุโบสถหลังเก่า สร้างสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ที่ยังไม่เคยได้รับการบูรณะตราบจนปัจจุบัน

พระเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาของเจ้าแม่วัดดุสิตเมื่อครั้งบวชเป็นแม่ชี

 


 

 วัดสมณโกศ

ด้านหน้าวัดสมณโกศ

ศาลเจ้าพระยาโกษาธิบดี เหล็ก (ขุนเหล็ก)

ศาลเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)

 

พระปรางค์บรรจุพระอัฐิของเจ้าแม่วัดดุสิต ซึ่งปัจจุบันได้ทลายลงมาแล้ว

 

                                        วัดสมณโกศ เป็นวัดที่เจ้าพระยาโกษาธิบดีเหล็กปฏิสังขรณ์

                           ปัจจุบันนี้มีพระอุโบสถ พระเจดีย์ พระปรางค์ เฉพาะพระปรางค์องค์ใหญ่

                           มีรูปทรงสันฐานแปลกกว่าพระปรางค์องค์อื่น นอกจากนี้ ก็มีรูปปั้นเจ้าพระยา

                          โกษาฯ (เหล็ก) และเจ้าพระยาโกษาฯ (ปาน) อีกด้วย

                                       นอกจากนี้ วัดนี้ยังเป็นวัดที่สมเด็จพระเพทราชา เสด็จไปพระ

                          ราชทานเพลิงศพ พระนมบัว(เจ้าแม่วัดดุสิต) พระนมของสมเด็จพระ

                          นารายณ์มหาราชและยังเป็นมารดาของเจ้าพระยาโกษาธิบดีเหล็กและ

                          เจ้าพระยาโกษาธิบดีปาน อีกด้วย เดิม วัดนี้ เรียกว่าวัดคลัง และเป็นวัดที่

                          สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เคยประทับขณะเมื่อยังทรงพระเยาว์

                          และทรงผนวชอีกด้วย (โปรดติดตามฟัง "ขุนเหล็ก ภาค 2" หรือ

                          "โกษาปาน ราชฑูตลิ้นทอง"   ได้ที่คลื่น FM 103 MHz.

                          ทุกวัน เวลา 19.30-20.00 น.)

 


 

วัดไชยวัฒนาราม

 

 



 

รังสิมันต์ มีเดีย


 




ตามรอยสยามกับ "รังสิมันต์"

เขานางบวช
หลวงพ่ออู่ทอง วัดพระปรางค์หลวง
ต้นกำเนิดพระเม็ดข้าวเม่า มหาธาตุเจดีย์เมืองพิจิตร
ต้นกำเนิดเมืองพิจิตร
ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ
หลวงพ่อเพชร จ.พิจิตร
วัดใหม่ชุมพล
รอยพระพุทธบาท สระบุรี
พระบรมรูปครอบครัวพระนเรศวร
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก
วัดราชบูรณะ พิษณุโลก
พระราชวังจันทน์ พิษณุโลก
วัดบางนมโค
แดน รังสิมันต์กับต้นแคคตัส
วัดสีกุก โดย "รังสิมันต์"
วัดสะตือ โดย "รังสิมันต์"
วัดขุนทิพย์ article
วัดรางจระเข้ article
วัดโพธิ์เผือก
วัดธรรมนิยม
วัดเกาะแก้ว article
วัดสำมะกัน article
วัดราชานุวาส(วัดแค) article
วัดหน้าต่างนอก วัดหน้าต่างใน article
ตามรอยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
วัดจุฬามณี จ.พิษณุโลก
วัดอโยธยา จ.พระนครศรีอยุธยา article
วัดภูเขาทอง จ.พระนครศรีอยุธยา article
วัดราชบูรณะ จ.พระนครศรีอยุธยา article
วัดพระราม จ.พระนครศรีอยุธยา article
วัดมหาธาตุ จ.พระนครศรีอยุธยา article
พระราชวังโบราณและวัดพระศรีสรรเพชร
ราชธานีเก่า เมืองสองแคว
ตามรอยพระยาพิชัยดาบหัก article
วัดธรรมิกราช จ.พระนครศรีอยุธยา



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Blog Rungsimun
Rungsimun Media Co.,Ltd. 3141/1 Sukhumwit Rd. Bangna Bangna Bangkok 10260 Tel: (66) 0-2747-6932 Fax: (66) 0-2743-7045 email address : info@rungsimun.com